ภาษาอังกฤษหลัก

สรรพนาม

Relative  Pronouns  เป็นคำสรรพนามที่ใช้แทนคำนามข้างหน้า  และยังสามารถทำหน้าที่เชื่อมประโยคเข้าด้วยกันได้ด้วย

  1. เมื่อใช้ Relative  Pronouns  ใน  Defining  Relative  Clauses.  ได้แก่

 

  ประธาน กรรม เจ้าของ
คน ใคร  ว่า ใคร  ว่า ใคร
สัตว์, สิ่งของ ที่,

ที่

ที่,

ที่

ใคร

ของ  ที่

 

ตัวอย่าง

1.1  ใช้กับคน  (For  Person)

WHO / ที่ประธาน

เขา  เป็น    คน  ที่  ช่วย    พระเอก  ที่    ท้าย  ของ    ภาพยนตร์

เขาคือชายผู้ซึ่งได้ช่วยเหลือพระเอกในตอนจบของเรื่อง

คน  ที่  ขโมย  ของ  เงิน  จะถูก  เรียกว่า  จอห์น

ชายคนที่ลักขโมยเงินของคุณมีชื่อว่าจอห์น

 

WHO / ที่กรรม

คน  ผู้ที่  คุณ  ต้องการ  คือ  ไม่ได้  ที่นี่

=                คน  ที่  คุณ  ต้องการ  คือ  ไม่ได้  ที่นี่

=                คน  ที่คุณ  ต้องการ  คือ  ไม่ได้  ที่นี่

คนที่คุณต้องการพบไม่ได้อยู่ที่นี่

 

     หมายเหตุ    เมื่อคำนามนั้นทำหน้าที่เป็นกรรมของประโยค  เราสามารถละ (omit)  คำสรรพนาม  whom/that  ได้

 

WHO/THAT  ใช้ร่วมกับบุพบท  (prepositions)

คน  เพื่อ  คนที่  ฉัน  พูด  ถูก  เรียกว่า  สมิ ธ

=                คน  ที่  ผม  พูด  จะ  ถูก  เรียกว่า สมิ ธ

=                คน  ที่ผม  พูด  จะ  ถูก  เรียกว่า  สมิ ธ

ชายคนนี้ที่ฉันได้พูดกับเขาคือนายสมิท

สาว ๆ  กับ  คน  ที่ฉันของ  การทำงาน  เป็น  ที่ตั้งครรภ์

=                สาว ๆ  ที่  ผม  ทำงาน  กับ  มี  การตั้งครรภ์

=                สาว  ผม  ทำงาน  กับ  มี  การตั้งครรภ์

หญิงคนที่ฉันทำงานอยู่ด้วยท้องแก่

     หมายเหตุ   จะใช้  that  แทน  to  whom,  with  whom  ฯลฯ  ก็ได้  แต่จะต้องนำเอา  prepositions  “to,  with,  etc.”  วางไว้หลังคำว่า  that  นอกจากนั้นสามารถละ  (omit)  “whom,  that”  ได้ เพราะนามตัวนั้นทำหน้าที่เป็นกรรม

 

WHOSE                  เจ้าของ

นี้  เป็น    คน  ที่มี  บ้าน  เรา  เพียงแค่  ซื้อ

นี้คือชายคนที่บ้านของเขาเราเพิ่งซื้อไป

ว่า  เด็ก  ที่มี  ชื่อ  ผม  ได้  ลืม  ลักษณะ  เช่น  คุณ

เด็กชายคนนั้นที่ชื่อของเขาฉันได้ลืมไปแล้วมีหน้าตาคล้ายกับคุณ

1.2  ใช้กับสัตว์หรือสิ่งของ  (For  things)

 

which / that   ประธาน

นี้  เป็น    บ้าน  ที่  จับ  ไฟ  สุดท้าย  อาจ

นี้คือบ้านหลังที่ถูกไฟไหม้เมื่อคืนที่แล้ว

หนังสือพิมพ์  ที่  เป็น  ใน    นิทาน  เป็น  เพื่อ  ฉัน

หนังสือพิมพ์ฉบับที่วางอยู่บนโต๊ะเป็นของฉัน

 

which / that   กรรม

ปากกา  ซึ่ง  เขา  ซื้อ  เป็น  ราคาแพง

=           ปากกา  ที่  เขา  ซื้อ  เป็น  ราคาแพง

=           ปากกา  เขา  ซื้อ  เป็น  ราคาแพง

ปากกาด้ามที่เขาซื้อมาแพง

หมายเหตุ      เราสามารถละ  (omit)   “which/that”  ได้  เมื่อทำหน้าที่กรรมของประโยค

 

WHOSE / ของ  ที่ประธาน

สุนัข  ที่มี  ชื่อ  เป็น  จิม  เสียชีวิต  เมื่อวานนี้

สุนัขที่ชื่อของมันคือจิมได้ตายไปเมื่อวานนี้

เขา  วิทยานิพนธ์  ของ  ซึ่ง    ที่ผ่านมา  ร้อย  หน้า  เป็น  ที่แน่นอน  เรื่องไร้สาระ  จะ  ชนะ  เขา                                 จำนวนมาก  ของ  ความประพฤติ

ปริญญานิพนธ์ของเขาซึ่งร้อยหน้ากว่าสุดท้ายเหลวไหลสิ้นดีจะทำให้เขาเสียชื่อมาก

 

 

ข้อควรจำ    ในกรณีต่อไปนี้  จะต้องใช้  that  เสมอ

  1. หลังคำคุณศัพท์ขั้นสุด (Superlatives)  เช่น

                                เขา  เป็น    เล็กที่สุด  คน  ที่  ผม  ได้  เคย  เห็น

                                เขาเป็นผู้ชายที่เล็กที่สุดเท่าที่ฉันได้เคยเห็นมา

  1. หลังคำแสดงลำดับที่ เช่น

เธอ  เป็น    แรก  สาว  ที่  สามารถ  เขียน  มัน  อย่างถูกต้อง

เธอเป็นคนแรกที่สามารถเขียนได้ถูกต้อง

  1. หลังคำต่อไปนี้ต้องใช้ that  เท่านั้น  คือ

ทั้งหมด    ทุกอย่าง    ทุกคน    ไม่มีอะไร    ไม่มีใคร    ไม่  ใด ๆ    ไม่มี    ไม่    มาก    น้อย    เพียง    มาก

ตัวอย่าง

ฉัน  มี  อะไร  ที่  จะ  พอดีกับ  คุณ

ฉันไม่มีตัวไหนที่จะพอดีกับคุณ

เขา  เป็น  เพียง  คน  ที่  คิด  เช่นนั้น

เขาเป็นคนเดียวที่คิดเช่นนั้น

 

 

  1. เมื่อใช้ Relative  Pronouns  ใน  Non – defining  Relative  Clauses. 

Non – defining  Relative  Clauses.  ต่างกับ  Defining  Relative  Clauses.  ดังนี้คือ

  1. Non – defining  Relative  Clauses.  ไม่ได้ทำหน้าที่นิยามนาม  แต่ทำหน้าที่เพิ่มข้อมูลหรือรายละเอียดให้ชัดเจนขึ้นเกี่ยวกับนาม
  2. Non – defining  Relative  Clauses.  จะมีเครื่องหมาย  Commas (   )  คั่น  เพื่อแยกส่วนที่ทำหน้าที่เพิ่มข้อมูลรายละเอียดนั้นออกตากนาม  (Noun)  ข้างหน้า

 

Relative  Pronouns  ใน   Non – defining  Relative  Clauses  ได้แก่

  ประธาน กรรม เจ้าของ
คน ใคร ใคร ใคร
สิ่งของ,  สัตว์ ที่ ที่ ของ  ที่

ใคร

 

ตัวอย่าง

  1. ใช้กับคน (For  persons)

 

WHO                       ประธาน

ฉัน  สวน  ที่  เป็น  มาก  ในแง่ร้าย  กล่าว  ว่า  มี  จะ  ต้อง  ไม่มี  แอปเปิ้ล  นี้  ปี

คนทำสวนของฉัน  ผู้ซึ้งเป็นคนมองโลกในแง่ร้าย  พูดว่าปีนี้จะไม่มีแอปเปิล

 

WHOM                    กรรม

เขา  นายจ้าง  ซึ่ง  เขา  อย่างเต็มที่  ไม่ชอบ  บอก  ว่า  เขา  จะ  ไม่  เหมาะ  ที่จะ    ทำงาน

นายจ้างของเขาผู้ซึ่งเขาไม่ชอบอย่างมาก  พูดว่าเขาไม่เหมาะสมกับงาน

 

WHOM                       ใช้กับบุพบท

แมรี่  กับ  คนที่  ผม  ขับรถ  กลับบ้าน  เมื่อวานนี้  มี    โรล  ส์รอยซ์

แมรี่  คนที่ฉันขับรถไปบ้านเธอเมื่อวานนี้  มีรถยนต์โรสรอย

 

WHOSE                    เจ้าของ

รูสโซส์   มี  ภาพวาดเป็น interresting เสียชีวิตเมื่อปีที่แล้ว

รุสโซ  ผู้ซึ่งภาพเขียนของเขาน่าสนใจ  ได้ตายไปเมื่อปีที่แล้ว

 

 

  1. ใช้กับสัตว์หรือสิ่งของ  ( For  things )

WHICH                     ประธาน

ของเขา  ใหม่  บ้าน  ซึ่ง  เป็น  อย่างมาก  มี  ไม่  ทำงาน  น้ำ

บ้านหลังใหม่ของเขาใหญ่มาก  ไม่มีทางน้ำไหล

 

WHICH                    กรรม

ต้นไม้  ใกล้    บ้าน  ทั้งหมดซึ่ง  ผม  ตั้งใจ  ที่จะ  ตัด  ลง  ได้รับการ  ตี  โดย  ฟ้าผ่า  สุดท้าย  คืน

ต้นไม้ใกล้บ้าน  ซึ่งฉันตั้งใจไว้ว่าจะตัดมันทิ้ง  ได้ถูกฟ้าผ่าเมื่อคืนที่แล้ว

 

WHICH                      ใช้กับบุพบท (Prepositions)

นี้  เชอร์รี่  สำหรับ  ที่  ผม  จ่าย  25   . ดอลลาร์  รสชาติ ที่ดี

เหล้าองุ่นขาวที่ฉันได้จ่ายเงินซื้อไปด้วยราคา  25  ดอลลาร์  มีรสชาติดี

 

WHOSE,   ของ  ที่                เจ้าของ

(Whose  ใช้กับสัตว์,   Of  which   ใช้กับสิ่งของ)

ฉัน  เลว,   มี  อารมณ์  คือ  ความไม่แน่นอน  มักจะ  กัด  ฉัน  น้องสาว

สุนัขของฉันซึ่งมีอารมณ์ผันแปร  มักจะกัดน้องสาวของฉัน

เขา  วิทยานิพนธ์,   ของ  ที่    ที่ผ่านมา  ร้อย  หน้า  จะมี  เรื่องไร้สาระ  จะ  ถูก  โยน  ออกไป

ปริญญานิพนธ์ของเขา  ซึ่งร้อยกว่าหน้าสุดท้ายของมันไร้สาระ  จะถูกโยนทิ้งไป

Prefix

การเดาความหมายโดยวิธีแยกรากศัพท์

เราอาจแยกส่วนประกอบของคำศัพท์ภาษาอังกฤษที่ยาวๆ ออกเป็น Prefix Root และ Suffix โดยที่ Prefix หมายถึง คำที่วางหน้าส่วน Root (รากศัพท์) แล้วทำให้เกิดความหมายหรือทำให้ความหมายของ Root นั้นเปลี่ยนไป โดยจะไม่เปลี่ยนหน้าที่ของรากศัพท์ ดังนั้นคำที่เกิดขึ้นใหม่ส่วนใหญ่จะมีหน้าที่เหมือนเดิมแต่มีความหมายเพิ่ม เติมหรือเปลี่ยนไป เช่น
– เปลี่ยนไปในทางตรงกันข้าม
– เปลี่ยนไปในทางที่ไม่ดี ดีขึ้น แย่ลง
หรืออาจจะเติมหน้ารากศัพท์เพื่อ บอกทัศนคติ ตำแหน่งที่ตั้ง ลำดับที่ จำนวน ยกตัวอย่างเช่น

 

Re– = again : (อีกครั้ง)
Reuse = use again (นำกลับมาใช้อีกครั้ง)
Reload = load again (บรรจุอีกครั้ง)
Reheat = heat again (ร้อนอีกครั้ง)

Inter- = between : (ระหว่าง)
Interact = act in between (ปฏิกิริยาต่อกัน/ปฏิกิริยาระหว่างกัน)

. en- หรือ Em- + adj  = จะทำให้: (ทำให้ … )
ตรวจสอบให้แน่ใจ = เพื่อให้แน่ใจว่า (ทำให้มั่นใจ)
ขยาย = เพื่อให้ขนาดใหญ่ (ทำให้ใหญ่)

en- หรือ Em- + N . หรือ v  = จะใส่ลงไปหรือเมื่อ: (วางไว้ใน)
เป็นอันตรายต่อ = จะนำไปสู่อันตราย (ทำให้อยู่ในอันตราย)
Empanel = ที่จะใส่ในแผง (ทำให้คณะลูกขุนเข้าประจำที่)

 

Prefix ที่สำคัญมีดังนี้

  • Prefixes ที่มีความหมายในเชิงปฏิเสธ “No” หรือ “Not” เช่น
    อุปสรรค ความหมาย ตัวอย่างคำ
    un not unfair
    in not inconvenient
    im not impossible
  • Prefixes สถานที่ ตำแหน่ง (Placement) เช่น
    อุปสรรค ความหมาย ตัวอย่างคำ
    inter among international
    ex out exclude
    sub under subtitle
  • Prefixes ที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับเวลา(Time) เช่น
    อุปสรรค ความหมาย ตัวอย่างคำ
    pre first pre-school
    pro for, before pro-America
    post after post-graduate
  • Prefixes ที่มีความหมายเกี่ยวข้องกับจำนวนเลข(Number) เช่น
    อุปสรรค ความหมาย ตัวอย่างคำ
    tri three tri angular
    uni one unify

ในภาษาอังกฤษ Prefix ที่ใช้กันมากและมักพบเห็นบ่อย ๆ มีอยู่ 10 ตัว คือ

  1. Un (ไม่) ใช้สำหรับเติมหน้าคำคุณศัพท์ (Adjective) หรือ คำกริยาวิเศษณ์ (Adverb)

เมื่อเติมแล้วทำให้คำนั้นมีความหมายตรงกันข้าม

เช่น suitable เหมาะสม unsuitable ไม่เหมาะสม

countable นับได้ uncountable นับไม่ได้

  1. Im (ไม่) ใช้สำหรับเติมหน้าคำคุณศัพท์ (Adjective) หรือ คำกริยาวิเศษณ์ (Adverb)

เมื่อเติมแล้ว ทำให้คำนั้นมีความหมายตรงกันข้าม

เช่น pure บริสุทธิ์ impure ไม่บริสุทธิ์

polite สุภาพ impolite ไม่สุภาพ

  1. –In (ไม่) ใช้สำหรับเติมหน้าคำคุณศัพท์ (Adjective) เท่านั้น

เมื่อเติมแล้วทำให้คำนั้นมีความหมาย

direct ตรง indirect ไม่ตรง

expensive แพง inexpensive ไม่แพง

  1. Re (อีก) ใช้สำหรับเติมหน้าคำกริยา (verb) หรือคำนามที่มาจากกริยาเท่านั้น

เมื่อเติมแล้วทำให้คำนั้นมีความหมายว่า “ทำอีก”

เช่น write เขียน rewrite เขียนใหม่

speak พูด respeak พูดอีก

  1. Dis (ไม่) ใช้สำหรับเติมหน้ากริยา (verb) หรือเติมหน้าคุณศัพท์ (Adjective)

และเมื่อเติมแล้ว ทำให้คำนั้นมีความหมายตรงกันข้าม

like ชอบ dislike ไม่ชอบ

agree เห็นด้วย disagree ไม่เห็นด้วย

  1. Mis (ผิด) ใช้สำหรับนำหน้าหรือเติมหน้าคำกริยา (verb) เท่านั้น

เมื่อเติมแล้วทำให้กริยาตัวนั้น มีความหมายว่า “กระทำผิด”

เช่น write เขียน miswrite เขียนผิด

spell สะกดตัว misspell สะกดตัวผิด

  1. Pre (ก่อน) ใช้สำหรับเติมหน้าคำนาม (Noun) หรือกริยา (verb)

เมื่อเติมแล้วทำให้นามนั้นมีความหมายว่า “ก่อน , หรือทำก่อน”

เช่น history ประวัติศาสตร์ prehistory ก่อนประวัติศาสตร์

university มหาวิทยาลัย preuniversity ก่อนเข้ามหาวิทยาลัย

  1. Tri (สาม) ใช้สำหรับเติมหน้าคำนาม และเมื่อเติม tri เข้าข้างหน้าแล้ว

ทำให้คำนั้นมีความหมายว่า “สาม” ขึ้นมาทันที

เช่น คำเดิม คำแปล เติมอุปสรรค tri แล้ว คำแปล angle เหลี่ยม triangle

รูปสามเหลี่ยมcycle จักรยาน tricycle รถสามล้อ

  1. Bi (สอง) ใช้สำหรับเติมหน้าคำนาม และเมื่อเติม bi เข้าข้างหน้าแล้ว

ทำให้คำนั้นมีความหมาย“สอง”ขึ้นมาทันที

เช่น cycle จักรยาน bicycle จักรยานสองล้อ

polar ขั้วโลก bipolar มีสองขั้วโลก

10. –En อุปสรรคตัวนี้ไม่มีคำแปลเป็นเอกเทศ เพียงแต่ว่าเมื่อนำไปเติมข้างหน้าคำนาม

หรือคำคุณศัพท์แล้วทำให้คำนั้นกลับเป็นกริยา (verb) ขึ้นมาทันที

เช่น camp ค่ายพัก encamp ตั้งค่าย

sure แน่ใจ ensure รับประกัน

Reading

ส่วนที่เป็นการอ่านสื่อต่างๆ  ในชีวิตประจำวัน  เช่น  ข้อความจากหนังสือพิมพ์  ,  พจนานุกรม , แผนภูมิ , ตาราง  ,การพยากรณ์อากาศ , ฉลากยา  เป็นต้น  การอ่านข้อความประเภทนี้  ต้องใช้ทักษะการอ่านแบบ  skim  คือ  การกวาดตาอย่างเร็วๆ  เพื่อดูข้อมูลทั่วๆไป และ  scan  คือการกวาดตาอย่างเร็วๆ  เพื่อหาจุดมุ่งหมายที่ต้องการ

ส่วนที่สอง  เป็นการอ่านเนื้อเรื่องความยาวประมาณ  10-20  บรรทัด  แต่ละเรื่องจะมีคำถามเรื่องละ  6-9  ข้อ  ขึ้นอยู่กับความยาวและความยากง่ายของเนื้อเรื่อง  คำถามที่จะปรากฏอยู่ในข้อสอบอ่าน  จะมีคำถามหลักดังนี้

1.  ถาม  title  หรือ  topic  (ชื่อเรื่อง) , main  idea  (ความคิดหลักของเรื่อง)  วิธีการตอบคำถามประเภทนี้สามารถใช้เทคนิคในกรหาคำตอบได้ดังนี้

–  ใช้วิธี  skim  และ  scan  คือการกวาดตาอย่างรวดเร็ว  เพื่อหาคำซ้ำๆ  ในเรื่อง  ซึ่งเป็นคำที่ซ้ำๆ ที่อยู่ในกลุ่มคำที่น่าจะสัมพันธ์กัน  นำมาประมวลรวมกันเพื่อรวมเป็นหัวเรื่องหรือแนวคิดหลักของเรื่อง
  –  ถ้าเนื้องเรื่องที่อ่านมีเพียง  1-2  ย่อหน้า  ให้อ่านประโยคแรกและประโยคสุดท้ายของย่อหน้าแรก  เพราะปะโยคแรกและประโยคสุดท้ายของแต่ละย่อหน้า  มักจะเป็นประโยคที่มี  main  idea  แล้วนำประโยคที่อ่านมาประมวลความคิด  เพื่อหาความคิดหลักของเรื่อง

ถ้าเนื้อเรื่องที่อ่านมีตั้งแต่  3 ย่อหน้าขึ้นไป  ให้อ่านย่อหน้าแรกและย่อหน้าสุดท้าย  เพราะย่อหน้าแรกมักจะเป็นคำนำ  และย่อหน้าสุดท้ายมักจะเป็นสรุป  ซึ่งจะทำให้เราสามารถจับใจความหลักของเนื้อเรื่องที่เราอ่านได้

ครูขอให้จำไว้เสมอว่า  title , topic  หรือ main idea  ของเรื่องจะต้องไม่กว้างมากเกินไปหรือไม่แคบเกินไป  ถ้าครูจะเปรียบความคิดหลักของเรื่องก็คล้ายๆ  กับฝาชี  เรามีฝาชีไว้ครอบจานอาหาร  ฝาชีนั้นต้องครอบอาหารได้ทุกจาน  ไม่มีจานใดจานหนึ่งเล็ดลอดออกมา  ในขณะเดียวกันก็ต้องไม่ใหญ่จนเกินไป เช่น  ถ้าเราจับได้ว่าคำซ้ำๆ  กันในเนื้อเรื่องคือ  tiger , leopard , zebra , hare, snake  ดังนั้น  title  หรือ  topic  ก็ควรจะเป็น  wild  animals  ถ้าเราเลือก  animal  เฉยๆ  ก็มักจะกว้างเกินไป  จริงไหมคะ

2.  ถาม  pronoun  reference  นั่นก็คือคำถามประเภท  “it”  line…..refers  to….  คิดว่าคงเคยเจอบ่อยๆ  เลยใช่ไหมคะ  เทคนิคการทำข้อสอบประเภทนี้มี  2  วิธีค่ะ  คือ

–  ถ้าข้อสอบถามถึงคำประเภท  เช่น  he , she , they , we , this , that , there , these , those , one , such , the above  เราต้องใช้วิธีการ  backward  คือ  ถอยหลังกลับไปอ่านในประโยคก่อนหน้านี้  1-2  ประโยค  ถ้าไม่เจออาจจะถอยไปประโยคที่  3  แต่โอกาสที่จะถอยไป  3 ประโยค  หรือเกินกว่านี้มีน้อยมากค่ะ  เพราะตามหลักของการเขียนจะไม่อ้างอิงหลายประโยค  เพราะอาจทำให้ผู้อ่านสับสน

–  ถ้าข้อสอบถามถึงคำประเภท  เช่น  the  following , as follows , bello , like , in this  following  เราต้องใช้วิธีการ  forward  คือ  อ่านต่อไปอีก  1-2  ประโยค  ก็จะได้คำตอบค่ะ

–  ถ้าข้อสอบถามถึง  it ให้ดูให้ดีว่า  it  ตัวนี้จะใช้วิธี  backward  หรือ  forward  ครูขอให้นักเรียนสังเกตอย่างนี้นะคะ  ถ้าโจทย์ให้ประโยคแบบ  it + to be  (is , am , are , was , were)  +  adj.  +  to  V.  เช่น  It  is  dangerous  to  use  this  drug.  ให้ใช้วิธี  forward  คือ  เดินหน้ามาจาก  it  คำตอบก็คือ  to  V.  ในที่นี้ก็คือ  to  use  this  drug.  เพราะประโยคแบบนี้เป็นการ  Rewrite  มาจาก  To  use  drug  is  dangerous.  แล้วเราก็เอา  it  มาแทน  subject  ของประโยค  คือ  To  use  drug

SUFFIXES

suffix (ซับ-ฟิกซฺ) คือ ส่วนประกอบหลังคำหลัก สำหรับ suffix นั้นเปรียบเสมือนกาฝากที่จะต้องเกาะอยู่กับคำหลัก ถือว่าเป็นส่วนสำคัญอย่างยิ่งทางด้าน ไวยากรณ์ของคำ (a word’s grammatical ending) เพราะเป็นตัวการที่ทำให้หน้าที่ของคำหลากหลาย และเปลี่ยนแปลงไป
คำหลัก                เมื่อเติม suffix
write (v.)                  writer (n.)
good (n.)                   goodness (n.)
modem (adj.)          modernize (v.)
beauty (n.)               beautiful (adj.)
wide (adj.)                widen (v.)

suffixes มีหลายซนิด ได้แก่ suffixes ที่ทำให้หน้าที่ของคำหลักเดิมเปลี่ยนไปดังนี้
1. Nouns → Noun suffixes หมายถึง คำหลักเดิมเป็นนาม เมื่อเติม
suffixes ในกลุ่มนี้เข้าไป ก็ทำให้เป็นคำนามเช่นกัน

2. Verbs → Noun suffixes หมายถึง คำหลักเดิมเป็นกริยา เมื่อเติม suffixes ในกลุ่มนี้เข้าไป ก็ทำให้เป็นคำนาม

3. Nouns/Adjectives → Noun/Adjective suffixes หมายถึง คำ หลักเดิมเป็นนามหรือคุณศัพท์ เมื่อเติม suffixes ในกลุ่มนี้เข้าไป ก็ทำให้เป็นนาม หรือคุณศัพท์

4. Adjectives→Noun suffixes หมายถึง คำหลักเดิมเป็นคุณศัพท์ เมื่อเติม suffixes ในกลุ่มนี้เข้าไป จะทำให้เป็นนาม

5. Adjectives/Nouns → Verb suffixes หมายถึง คำหลักเดิมเป็น คุณศัพท์หรือนาม เมื่อเติม suffixes ในกลุ่มนี้เข้าไปจะทำให้เป็นกริยา

6. Nouns→Adjective suffixes หมายถึง คำหลักเดิมเป็นนาม เมื่อเติม suffixes ในกลุ่มนี้เข้าไป จะทำให้เป็นคุณศัพท์

ต่อไปนี้ จะขอกล่าวถึง suffixes แต่ละชนิดที่กล่าวมา
1. Nouns → Noun Suffixes

suffixes1suffixes2suffixes3
2. คำกริยาคำนามคำต่อท้าย→

suffixes4
3. คำนาม / คำคุณศัพท์→คำนาม / คำคุณศัพท์คำต่อท้าย

suffixes5
4. คำคุณศัพท์→นามต่อท้าย

suffixes6
5. Adjective / คำนามคำกริยาคำต่อท้าย→

suffixes7
6. คำนามคำคุณศัพท์คำต่อท้าย→

suffixes8

suffixes9

Subject-Verb Agreement 

ข้อตกลงเรื่องคำกริยา

เวลาเขียนประโยคแต่ละครั้งสิ่งที่เป็นปัญหาอย่างหนึ่งก็คือ การเลือกคำกริยาให้สอดคล้องกับประธานเพราะเราเกิดไม่แน่ใจขึ้นมาว่าประธานของประโยคเขานับเป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์ แล้วกฎของมันก็แยกย่อยออกมาเยอะแยะมากมายจำกันไม่หมดเลยทีเดียว มาดูกันทีละข้อเลยค่ะ

1. มาดูกฎเบสิคกันก่อนเลย ถ้าประธานเป็นเอกพจน์คือมีหนึ่งเดียว กริยาเป็นเอกพจน์   และถ้าประธานมีหลายคนหรือหลายสิ่ง กริยาก็ต้องเป็นพหูพจน์ไปตามระเบียบ

เช่น

  • ห้องพักนี้เป็นสำหรับแขกของเรา
  • เด็กเหล่านี้อาศัยอยู่ใกล้บ้านของฉัน

2. ถ้าประธานมี 2 ตัว เชื่อมด้วย “and”   ให้ถือเป็นประธานพหูพจน์ กริยาจึงต้องเป็นพหูพจน์ เช่น

  • พี่ชายของฉันและฉันเป็นฝาแฝด

แต่!! ถ้าประธานที่เชื่อมด้วย “and” แต่เป็นสิ่งเดียวกันหรือเป็นหน่วยเดียวกัน ให้ถือเป็นเอกพจน์ และใช้กริยาเอกพจน์ เช่น

  • Bread and butter is my favorite breakfast.   (ขนมปังและแยมหรือขนมปังทาแยมมันคือของชิ้นเดียวกัน มันจึงเป็นเอกพจน์)

3. ประธานที่มีวลีหรือคำขยายต่อท้าย จะนับเป็นเอกพจน์หรือพหูพจน์นั้น ให้ดูประธานที่อยู่ข้างหน้าเป็นหลัก เช่น

  • เด็กผู้ชายจำนวนมาก รวมถึงพี่ชายของฉันชอบเล่นเกมคอมพิวเตอร์
  • แทมมี่ ร่วมกับครอบครัวของเธอได้ลิขสิทธิ์โต๊ะที่ร้านอาหารนี้

4. คำต่อไปนี้เมื่อเป็นประธานของประโยคให้ถือเป็นเอกพจน์

ใครทุกคนคน
ทุกคนทุกคนใครสักคน
อะไรทุกอย่างที่บางสิ่งบางอย่าง
ได้ทุกที่ทุกที่ไหนสักแห่ง
ในแต่ละ + เอกพจน์เอ็นเอ็น + ทั้งเอกพจน์ค่า + เอ็นเอกพจน์
แต่ละ + พหูพจน์ N. อย่างใดอย่างหนึ่งพหูพจน์ + N. ค่าของ + เอ็นพหูพจน์

เช่น

  • ทุกคนเห็นด้วยกับแผนของคุณ
  • แต่ละบทเรียนที่ใช้เวลาชั่วโมง

5. ประธานซึ่งเชื่อมด้วยคำต่อไปนี้ กริยาให้ถือตามประธานตัวหลัง

หรือไม่ … หรือ
อย่างใดอย่างหนึ่ง … .or ไม่เพียง แต่ยัง ……

เช่น

  • ไม่เพียง แต่ จิม  แต่ยัง  เพื่อน ๆ ของเขา กำลัง  จะมาถึงงานเลี้ยงคืนนี้
  • ทั้ง นายกรัฐมนตรี  หรือ  ผู้แทนของเขา มี  การเข้าร่วมประชุม

6. คำต่อไปนี้ถ้าใช้แทนคำนามนับได้ ถือเป็นพหูพจน์เสมอ

ทั้งหมดทั้ง (ก) ไม่กี่
severa หลายบาง

เช่น      

  • ทั้งหมด กำลังจะพลาดรถไฟ
  • ไม่กี่ จะเข้าร่วมการประชุม
  • หลายคน ได้รับเชิญไปรับประทานอาหารกลางวัน แต่เพียงสิบสองปรากฏตัวขึ้น

7. มาถึงคิวของคำบอกปริมาณกันบ้าง มีเยอะแยะแยกเป็นกลุ่มได้ดังนี้ค่ะ

7.1 วลีบอกปริมาณต่อไปนี้ถ้าตามด้วยนามเอกพจน์ กริยาต้องใช้เอกพจน์ ถ้าตามด้วยนามพหูพจน์กริยาต้องใช้พหูพจน์

จำนวนมากของความอุดมสมบูรณ์มากที่สุดของบางส่วนของ
จำนวนทั้งหมดของไม่มีเปอร์เซ็นต์ของ

เช่น

  • ผมคิดว่า  จำนวนมากของ ภาษาอังกฤษ  ไวน์ เป็น  หวานเกินไป
  • ความอุดมสมบูรณ์ของ  คน อยู่  ในห้องพัก                 

7.2 วลีบอกปริมาณต่อไปนี้ใช้กับคำนามนับได้ที่เป็นพหูพจน์ และกริยาก็ต้องเป็นพหูพจน์ตามด้วย ซึ่งได้แก่คำว่า

จำนวนของจำนวนมาก
เป็นจำนวนมากหลายที่ดี
เป็นจำนวนมากของดีมาก

 เช่น      

  • หมายเลข นักเรียนจะได้เล่นฟุตบอล
  • จำนวนมากของ นักท่องเที่ยวได้หายไปเพราะสัญญาณว่า

7.3 วลีบอกปริมาณต่อไปนี้ เมื่อใช้กับนามนับไม่ได้ กริยาต้องใช้รูปเอกพจน์ตลอดไป

มากเป็นจำนวนมากของ
การจัดการที่ดีของจำนวนมากของการ
จัดการที่ดีของปริมาณมาก

เช่น

  • จำนวนมากของ เงิน ที่ถูก  ขโมยมาจากธนาคาร

8. ประธานที่ขึ้นต้นด้วย Infinitive Phrase (วลีที่นำหน้าด้วย to) หรือ gerund (Ving) ถือว่าเป็นเอกพจน์ กริยาต้องเป็นรูปเอกพจน์

เช่น

  • ที่จะได้รับการขึ้นต้น  เป็นนิสัยของฉัน
  • ว่ายน้ำ  เป็นกีฬาที่ชื่นชอบ

9. ประโยคที่มี who, which, that เป็น Relative Pronoun กริยาของ Relative Pronoun จะใช้รูปของเอกพจน์หรือพหูพจน์ให้ยึดตามคำที่มันแทนซึ่งอยู่ข้างหน้า

เช่น

  • นักเรียนที่กำลังพยายามอย่างหนักที่จะผ่านการสอบ (ซึ่งนักเรียน =)
  • ผู้หญิงคนนั้น  ที่สวม  ชุดสีชมพูเป็นน้องสาวของฉัน (ซึ่งสาว =)

10. จำนวนเงินหรือมาตราต่างๆ ถือเป็นเอกพจน์

เช่น

  • สองหมื่น บาท คือ สูงเกินไปสำหรับกล้องถ่ายรูปนี้
  • สองร้อย ไมล์ เป็น  ทางยาว

11. เศษส่วนของคำนามพหูพจน์ ใช้กริยาเป็นพหูพจน์ เศษส่วนของคำนามเอกพจน์ ใช้กริยาเป็นเอกพจน์

เช่น

  • สองในสาม  ของ  เด็กผู้ชาย ที่มี  ขาด
  • สองในสาม  ของ  ผนัง ได้  รับการทาสี

ขอขอบคุณขอมูลจาก

stickerline-201412161604121